แจงชัดๆ แจ้งจับได้ส่วนแบ่ง 50% ไม่ง่ายอย่างที่คิด
จากกรณีที่สังคมออนไลน์ใน social media ต่างพากันนำข้อมูลของกฎหมายเรื่องการนำค่าปรับมาแบ่งให้ผู้แจ้ง ตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองพุทธศักราช 2535 โดยระบุว่าการกระทำความผิดต่าง ๆ ที่ประชาชนมีโอกาสพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน คดีไหนที่มีโทษปรับ คนแกล้งก็จะได้รับส่วนแบ่งครึ่งหนึ่งของคดีนั้น คำถามที่ตามมาคือ มันได้ง่ายขนาดนั้นจริงหรือ
วันนี้จึงมาเปิด คำถามไขข้อข้องใจกันว่าข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร
เรื่องการปรับ ปรับเท่าไหร่ก็ขึ้นอยู่กับดุลพินิจ
ร้ายคนที่หวังส่วนแบ่งจากค่าปรับปรุงหนึ่ง ๆ โดยไม่ได้คิดว่าโทษปรับนั้นขึ้นอยู่กับดุลพินิจ องค์ประกอบของพฤติการณ์และความรุนแรง เช่นกฎหมายระบุโทษชัดปรับไม่เกิน 5,000 บาทไม่ได้เขียนว่าปรับ 5000 บาทฉะนั้นครึ่งหนึ่งของคาบหลอดใช่ว่าจะเท่ากับ 2500 บาทเสมอไป เนื่องจากต้องคำนึงถึงเหตุผลและปัจจัยอื่น ๆ ทั้งในแง่นิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ ประกอบด้วย
- หากตำรวจปรับ 200 บาท กลุ่มหนึ่งก็เท่ากับ 100 บาทตามหลักกฎหมายฉบับเต็ม อัตราต้องมีเหตุผล ที่มอเตอร์ไซค์บนทางเท้า ทิ้งซากรถ ขวางทางจราจรหรือวางของกั๊กที่จอดรถ ต้องดูปัจจัยความเสียหาย ประกอบพฤติกรรม ต้องเหมาะสมกับค่าปรับ เช่นกรณีกับแม่ค้า ที่ใช้ทางเท้าทำมาหากิน เจ้าหน้าที่ตักเตือนแล้ว จับครั้งหนึ่งก็แล้ว ครั้งที่สองก็แล้ว ยังทำอีก และรบกวนชาวบ้าน ในภาพรวมแบบนี้ครับปรับแตกต่างกันแน่นอน
- ส่วนเรื่องส่วนแบ่งค่าปรับ ที่ประชาชนจะได้รับนั้น ต้องผ่านกระบวนการเบิกจ่ายตามขั้นตอนทางกฎหมายด้วย ไม่ใช่จะรับทันทีภายหลังผู้ต้องหาจ่ายค่าปรับ เมื่อผู้ต้องหา จ่ายเงินค่าปรับแล้ว ผู้แจ้งจะได้รับส่วนแบ่งทันที เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องจริงแค่ตำรวจต้องนำเงินเข้าหน่วยงานท้องถิ่นก่อน จากนั้นจึงทำเรื่องเบิกมาให้ท่าน ขั้นตอนก็คล้ายคลึงกับกรมศุลกากรหากจับรถหนีภาษีได้ กฎหมายบอกให้แบ่งให้ผู้แจ้งข่าว 30% รางวัลนำจับ 25% แต่ก็ต้องรอ ให้เสร็จสิ้นการประมูลรถ มีการนำเงินเข้ากรมศุลกากรซะก่อน แจ้งจึงค่อยเขียนคำร้องเบิกรับเงินรางวัลสินบน
กฎหมายมีก็จริงแต่ใช้ในชีวิตจริงนั้นยาก เพราะ
พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองพุทธศักราช 2535 มาตรา 48 ระบุว่า บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือผู้ซึ่งเจ้าพนักงานท้องถิ่นแต่งตั้ง และพนักงานสอบสวน มีอำนาจเปรียบเทียบได้เมื่อผู้ต้องหาชำระค่าปรับ ตามที่เปรียบเทียบภายใน 15 วันแล้วให้ถือว่าคดีเลิกกัน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเท่า ผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือไม่ยินยอมแล้วไม่ชำระค่าปรับ ภายในกำหนดเวลาดังกล่าวให้ดำเนินคดีเพื่อฟ้องร้องต่อไป
ค่าปรับที่ได้จากการเปรียบเทียบตามวรรคหนึ่งให้แบ่งแก่ผู้แจ้งตามมาตรา 5 กึ่งหนึ่ง และพนักงานเจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงานจราจร หรือตำรวจ ที่ปฏิบัติหน้าที่ควบคุมการจราจรผู้จับกุมอีกกึ่งหนึ่ง
ส่วนมาตรา 49 ระบุว่าภายใต้บังคับมาตรา 48 วรรค 3 ค่าธรรมเนียมและค่าปรับ ที่เปรียบเทียบตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นรายได้ของราชการส่วนท้องถิ่น
ดังนั้นจากข้อความข้างบน ความชัดเจนที่เกิดขึ้นก็คือไม่ว่าค่าปรับจะมากน้อยเพียงใดจะต้องถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วนเพิ่มมอบให้กับผู้แจ้งผู้จับและแผ่นดิน อย่างภาครัฐหรือหน่วยงานท้องถิ่น โดยผู้แจ้งและผู้จับได้รับเงินตามมาตรา 48 วรรค 3 ส่วนรับได้ค่าปรับตามมาตรา 49
เช่นเงินค่าปรับ 1000 บาทต้องแบ่งเป็น 3 ส่วนหน่วยงานอาจจะได้ 500 บาทเหลือ 500 บาท ผู้แจ้งอย่างประชาชน และผู้จับอย่างเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือเทศกิจแบ่งกันคนละครึ่ง คือ 250 บาท โดยสัดส่วนการแบ่งฝันตัวเงินที่แน่ชัด ขึ้นอยู่กับกฎหมายท้องถิ่นประกอบด้วย
แนวข้อความจะเขียนไว้ชัดเจนว่า ประชาชนมีสิทธิ์ได้ส่วนแบ่ง แต่ในความเป็นจริงเป็นเรื่องยากแทบไม่มีใครไปแจ้งความเพื่อหวังเงินส่วนนี้ เพราะโทษปรับสูงสุด 5000 บาท สถานการณ์จริงเจ้าพนักงาน ใช้ดุลพินิจมองสถานการณ์ แล้วปรับแค่ 200 หักเข้าร่วม 100 แบ่งให้คนจับ และควรแจ้งคนละ 50 บาท แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า ได้เงินทันที ต้องนำเงินเข้าท้องถิ่น หรือหน่วยงานรัฐก่อน จากนั้นค่อยทำเรื่องเบิกมามอบให้ หรือที่เลวร้ายที่สุด ผู้ต้องหาไม่ยอมชดใช้ ด้วยเหตุผลอะไรก็แล้วแต่ พระราชบัญญัติฉบับนี้ก็ระบุว่า ให้เป็นไปตามวิธีพิจารณาความอาญาคือต้องชำระภายใน 15 วัน หากไม่ชำระ ให้ส่งฟ้องศาล หรือถ้าผู้ต้องหาปฏิเสธ ก็ส่งฟ้องศาลเช่นกัน ซึ่งสุดท้ายแล้ว ศาลอาจสั่งกลับ เป็นจำนวนเงินน้อยกว่าเดิมอีกก็เป็นได้ อ่านประเภท 100 บาท สุดท้ายเหลือแบ่งกันแค่คนละ 25 บาท คุ้มหรือไม่กับระยะเวลาที่ฟ้องร้อง เพราะนอกจากนั้น กฎหมายก็ยังไม่ได้ระบุกรอบเวลาที่คุณจะได้รับเงินด้วย